Mind Mapping
ขอบข่ายเนื้อหากลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter3 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter3 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
Quarter 1
|
Quarter 2
|
Quarter 3
|
Quarter 4
|
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
สาระ/หลักภาษา
|
๑. พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์
๒. อักษรสามหมู่ ,การผันอักษร ๓. สระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป/สระเสียงสั้น เสียงยาว ๔. คำ พยางค์ ๕. ประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วน ๖. คำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ ๗. คำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้ ๘. มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา ๙. มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา ๑๐. อักษรนำ |
๑. พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์
๒. การแจกลูก
สะกดคำ
๓. คำประสม
๔. สระลดรูป สระเปลี่ยนรูป ๕. ประโยค - การแต่งประโยค
๖. การใช้พจนานุกรม
๗. คำควบกล้ำ
๘. มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
๙. มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา
|
๑. พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์
๒. การแจกลูก สะกดคำ
๓. คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
๔. คำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
๕. การแต่งประโยค
๖. คำควบกล้ำแท้
๗. คำควบกล้ำไม่แท้
๘. คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
๙.คำคล้องจอง
|
๑. พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์
๒. การผันอักษร(สูง กลาง ต่ำ)
๓. สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
๔. คำ พยางค์
๕. คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
๖. อักษรนำ
๗. คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา
๘. คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย
๙. คำคล้องจอง
|
วรรณกรรม
- นิทานสระสนุก
- นิทานกินหาง
|
วรรณกรรม
- คุณกบกับคุณคางคกเพื่อนรัก
- นิทานอีสป
|
วรรณกรรม
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
|
วรรณกรรม
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
|
เวลาเรียน ๑๑ สัปดาห์ (๕๕
ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๔๕
ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๕๐
ชั่วโมง)
|
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๕๐
ชั่วโมง)
|
ขอบข่ายเนื้อหาการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter4 ปีการศึกษา
๒๕๕๙
สัปดาห์
|
วรรณกรรม/ตอน
|
แก่นเรื่อง
|
หลักภาษา
|
เป้าหมายของการเรียนรู้หลักภาษา |
๑
|
คาดเดาวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
|
ความเชื่อ พิธีกรรม และต้นกำหนดของคนปกาเกอะญอ
|
พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์
|
นักเรียนเข้าใจ
สามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ สระเสียงสั้น
สระเสียงยาว และวรรณยุกต์ได้ สร้างคำใหม่ และนำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
๒
|
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน คนเลี้ยงควาย
|
การซื่อสัตย์ และการรักษาคำพูด
|
การผันอักษร(สูง กลาง ต่ำ)
|
นักเรียนเข้าใจเรื่องการผันอักษร
สามารถผันได้ตรงรูปตรงเสียง นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์
สามารถอธิบายถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|
๓
|
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน เตมิญะ
|
การรู้เท่าทันตนเอง และการทำความดี
|
สระคงรูป สระลดรูป
และสระเปลี่ยนรูป
|
นักเรียนเข้าใจ
และสามารถอธิบายความสำคัญของคำที่เกิดจากการใช้สระคงรูป สระลดรูป
และสระเปลี่ยนรูป และสามารถอ่าน และนำคำนั้นมาใช้เขียนงานในรูปแบบต่างๆ
ตามความสนใจได้
|
๔
|
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางเก้งขาว
|
การรักษาคำพูด เมื่อรับปากแล้วก็ต้องทำให้ได้
อย่างที่รับปาก
|
คำ
พยางค์
|
นักเรียนเข้าใจ และอธิบายองค์ประกอบของคำ และพยางค์ สามารถอ่าน
เขียนคำ พยางค์ รู้จักแยกคำเป็นพยางค์ได้ นำคำที่ได้มาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
|
๕
|
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ผีขาเขียว
|
ให้ทุกข์แก่ท่าน ทุกข์นั้นถึงตัว
|
คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
|
นักเรียนเข้าใจ ความสำคัญและสามารถแยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้
และสามารถนำคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์มาแต่งเป็นประโยค
เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
|
๖
|
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ไฟไหม้แผ่นดิน
|
ความมุมานะพยายาม เพื่อให้ได้กลับมาอยู่ด้วยกันอีกครั้ง
|
อักษรนำ
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน
เขียน แยกแยะอักษรนำที่มี ห นำ และ อ นำได้ สามารถนำคำที่มีอักษรนำมาเขียนแต่งประโยค
และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถอธิบาย
สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|
๗
|
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางบาป
|
การยับยั้งชั่งใจ และโทษของการลักขโมย
|
คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา
|
นักเรียนเข้าใจ และอธิบายความสำคัญของคำนาม คำสรรพนาม
คำกริยา รวมทั้งนำคำเหล่านั้นมาแต่งประโยค
และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์
|
๘
|
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
|
การแบ่งปัน เอื้ออาทร และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
|
คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน
เขียน คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อแตกต่างคำที่ใช้ไม้ม้วน
และไม้มลายได้ สามารถนำคำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียน
ของตนเอง และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|
๙
|
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ราชาหมา
|
เชื่อฟังคำสอน
และการช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังสิงตอบแทน
|
คำคล้องจอง
|
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์
และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ
ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
|
๑๐
|
ถอดบทเรียน
|
คุณค่าของวรรณกรรมและการนำไปใช้
|
-แก่นความเข้าใจ
-วิธีการเรียนรู้
-คุณค่าที่ได้รับ
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถถอดบทเรียนตลอดการเรียนรู้ทั้ง
๑๐ สัปดาห์ ในรูปแบบต่างๆ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันของตนเองได้
|
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter 4 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
หน่วยการเรียน วรรณกรรม : แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
หน่วยการเรียน วรรณกรรม : แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๑
|
หน่วยการเรียนรู้
- คาดเดาวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
สาระ/หลักภาษาไทยพยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน |
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน |
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์ ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด |
ป.๑/๑
บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
และเลขไทย
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนเข้าใจ
สามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ
สระเสียงสั้น สระเสียงยาว และวรรณยุกต์ได้ สร้างคำใหม่ และนำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๒
|
หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน คนเลี้ยงควาย
สาระ/หลักภาษาไทย
การผันอักษร |
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘
มีมารยาท ในการอ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
|
ป.๑/๑
บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
และเลขไทย
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนเข้าใจเรื่องการผันอักษร
สามารถผันได้ตรงรูปตรงเสียง
นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถอธิบายถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๓
|
หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน เตมิญะ
สาระ/หลักภาษาไทย
สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔
เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘
มีมารยาท ในการอ่าน
อ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
|
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนเข้าใจ
และสามารถอธิบายความสำคัญของคำที่เกิดจากการใช้สระคงรูป สระลดรูป
และสระเปลี่ยนรูป และสามารถอ่าน และนำคำนั้นมาใช้เขียนงานในรูปแบบต่างๆ
ตามความสนใจได้
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๔
|
หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางเก้งขาว
สาระ/หลักภาษาไทย
คำ พยางค์
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔
เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘
มีมารยาท ในการอ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
|
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนเข้าใจ
และอธิบายองค์ประกอบของคำ และพยางค์ สามารถอ่าน เขียนคำ พยางค์
รู้จักแยกคำเป็นพยางค์ได้
นำคำที่ได้มาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๕
|
หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ผีขาเขียว
สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘
มีมารยาท ในการอ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
|
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนเข้าใจ
ความสำคัญและสามารถแยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้
และสามารถนำคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์มาแต่งเป็นประโยค
เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๖
|
หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ไฟไหม้แผ่นดิน
สาระ/หลักภาษาไทย
อักษรนำ
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔
เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
|
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน
แยกแยะอักษรนำที่มี ห นำ และ อ นำได้ สามารถนำคำที่มีอักษรนำมาเขียนแต่งประโยค
และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถอธิบาย
สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๗
|
หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางบาป
สาระ/หลักภาษาไทย
- คำนาม คำสรรพนนาม คำกริยา
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔
เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘
มีมารยาท ในการอ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
|
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนเข้าใจ
และอธิบายความสำคัญของคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา รวมทั้งนำคำเหล่านั้นมาแต่งประโยค
และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๘
|
หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘
มีมารยาท ในการอ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด
|
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน
คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อแตกต่างคำที่ใช้ไม้ม้วน และไม้มลายได้
สามารถนำคำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียน ของตนเอง
และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๙
|
หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ราชาหมา
สาระ/หลักภาษาไทย
คำคล้องจอง
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔
เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘
มีมารยาท ในการอ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู
|
ป.๑/๑
บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
และเลขไทย
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
ป.๑/๔
ต่อคำคล้องจองง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
|
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์
และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
|
สัปดาห์
|
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้ |
การอ่าน
ท
๑.๑
|
การเขียน
ท ๒.๑ |
การฟัง
ดู และพูด
ท ๓.๑ |
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.๑ |
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.๑ |
เป้าหมายการเรียนรู้
|
๑๐
|
หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
สาระ/หลักภาษาไทย
-แก่นความเข้าใจ
-วิธีการเรียนรู้
-คุณค่าที่ได้รับ
|
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ
คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ
และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔
เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘
มีมารยาท ในการอ่าน
|
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓
มีมารยาทในการเขียน
|
ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ
คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู
ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู
|
ป.๑/๑
บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
และเลขไทย
ป.๑/๒
เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓
เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
ป.๑/๔
ต่อคำคล้องจองง่ายๆ
|
ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด
และบทร้อยกรองตามความสนใจ
|
นักเรียนเข้าใจและสามารถถอดบทเรียนตลอดการเรียนรู้ทั้ง
๑๐ สัปดาห์ ในรูปแบบต่างๆ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันของตนเองได้
|
ปฏิทินการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter 4 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter 4 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๑
๙
– ๑๐
ม.ค. ๒๕๖๐ |
โจทย์ :
- ทบทวนสิ่งที่รู้แล้ว ทบทวนหลักภาษา
- แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ
- พยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์
Key Questions :
- นักเรียนเห็นอะไรจากปกนี้บ้าง
คิดว่านิทานเล่มนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร
- นักเรียนสามรถอธิบายเกี่ยวกับพยัญชนะ
สระ วรรณยุกต์
ได้โดยวิธีไหนบ้าง
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ
- บัตรภาพพยัญชนะ |
-
ทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทยที่ได้เรียนรู้ผ่านมาใน Quarter3 และสิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติมใน Quarter4
- ครูให้นักเรียนดูหน้าปกวรรณกรรม แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคาดเดาเรื่องเกี่ยวกับวรรณกรรมพร้อมวาดภาพปกประกอบ
- แบ่งกลุ่ม ๗ กลุ่ม
จับสลากพยัญชนะกลุ่มละ ๕ ตัว
และช่วยกันคิดคำศัพท์จากพยัญชนะนั้นให้ได้เยอะที่สุด
- ครูพานักเรียนเล่นเกมเขียนจับคู่รูปภาพกับพยัญชนะ
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
และการนำไปใช้สื่อสารอย่างเหมาะสม
-
ครูกำหนดคำให้นักเรียนเขียนแต่งเรื่องตามจินตนาการคนละ ๑ เรื่องสั้นๆ
-
นักเรียนเขียนตามคำบอกคำพื้นฐาน ๑๐ คำ
|
ภาระงาน :
-
การคาดเดาเรื่องราวเกี่ยวกับวรรณกรรม
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การทำงานร่วมกัน โดยทุกคนมีส่วนร่วมในการคิดคำศัพท์ใหม่
-
การอ่านวรรณกรรม
-
การทบทวนองค์ความรู้ก่อนเรียน
ชิ้นงาน :
-
วาดภาพปกคาดเดาเรื่อง
-
เขียนเรื่องราวตามจินตนาการ
|
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจ
สามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ สระเสียงสั้น
สระเสียงยาว และวรรณยุกต์ได้ สร้างคำใหม่ และนำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๒
๑๖
– ๒๐
ม.ค. ๒๕๖๐ |
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน คนเลี้ยงควาย
-
การผันอักษร
Key Questions :
- ถ้าหากนักเรียนเป็นคนเลี้ยงควาย
นักเรียนจะตัดสินใจอย่างไร
- นักเรียนจะอธิบายความเข้าใจเกี่ยวกับการผันอักษรของตัวเองได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Show and Share
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรมแม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ
- แผงไข่ผันอักษร
|
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรมแม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน คนเลี้ยงควาย ไปพร้อมๆ
กัน
-
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปย่อความ(ใคร
ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) และวาดภาพประกอบ
- ครูพานักเรียนเล่นเกมผันอักษรผ่านแผงไข่
โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ๕ กลุ่ม มีชุดอุปกรณ์ให้คือ แผงไข่ กระดาษ ปากกาสี
และไม้ไอศกรีม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มจับสลากคำ ๕ คำ(อักษรกลาง) เพื่อนำไปใช้ในการผันอักษร
- ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันหลังเล่นเกม
การใช้วรรณยุกต์ตามรูป และตามการออกเสียง
นักเรียนเขียนสิ่งที่ช่วยกันผันอักษรลงในสมุด
- ครูนำกลอนอักษรกลาง และตารางอักษรสามหมู่มาให้นักเรียนดู และอ่านตาม
- ครูพานักเรียนออกเสียง
และเติมคำลงในตารางผันอักษร
- นักเรียนทำแบบฝึกเติมคำผันอักษร โดยครูกำหนดคำให้
๕ คำ
- นักเรียนเขียนตามคำบอกคำพื้นฐาน
๑๐ คำ
|
ภาระงาน :
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การวิเคราะห์
สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การทำกิจกรรมกลุ่ม
ช่วยกันคิดคำผันอักษร
- การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน :
-
เขียนสรุปเรื่องย่อ
-
เขียนตารางผันอักษร
-
ถุงมือผันอักษร
-
เขียนตามคำบอก และแต่งประโยค
|
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจเรื่องการผันอักษร
สามารถผันได้ตรงรูปตรงเสียง
นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถอธิบายถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๓
๒๓
– ๒๗
ม.ค.
๒๕๖๐
|
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน
เตมิญะ
-
สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
Key Questions :
-
ถ้าหากนักเรียนเป็นเตมิญะ นักเรียนจะทำอย่างไร
-
นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องสระคงรูป สระลดรูป
และสระเปลี่ยนรูปให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Round Rubin
- Web
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-
ห้องเรียน
- วรรณกรรม แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน เตมิญะ
- บัตรคำ
|
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน เตมิญะ ไปพร้อมๆ
กัน
-
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปวรรณกรรมในรูปแบบ
Web
- ครูพานักเรียนเล่นเกมใบ้คำ(คำที่เป็นสระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป) ๑๐ คำ
- ครูและนักเรียนสนทนาหลังเล่นเกม
นำคำที่เล่นเกมติดไว้บนกระดาน และพาอ่านออกเสียง สังเกตการสะกดคำศัพท์
- ครูพาทำจรวดสระลดรูป(สระโอะ)
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม
ค้นหาคำที่มีสระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
ในวรรณกรรมแม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ อย่างละ ๑๐ คำ
และแต่ละกลุ่มนำเสนอคำของตนเอง
- นักเรียนเลือกคำที่ค้นหามา ๕ คำ
เขียนแต่งนิทานสั้นๆ ๑ เรื่อง
- นักเรียนเขียนตามคำบอกคำพื้นฐาน ๑๐ คำ
|
ภาระงาน
:
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การวิเคราะห์
สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การร่วมกลุ่มค้นหาคำที่ใช้สระคงรูป สระลดรูป
และสระเปลี่ยนรูปในวรรณกรรม
- ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกันสัปดาห์นี้
-
การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน
:
- เขียนสรุปในรูปแบบ Web
- เขียน Web สะสมคำศัพท์
- เขียนการ์ตูน ๔ ช่อง
|
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจ
และสามารถอธิบายความสำคัญของคำที่เกิดจากการใช้สระคงรูป สระลดรูป
และสระเปลี่ยนรูป และสามารถอ่าน และนำคำนั้นมาใช้เขียนงานในรูปแบบต่างๆ
ตามความสนใจได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๔
๓๐
– ๓
ก.พ.
๒๕๖๐
|
โจทย์ :
-
แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน นางเก้งขาว
- คำ พยางค์
Key Questions :
-
นักเรียนคิดว่าการรักษาคำพูดสำคัญหรือไม่ เพราะเหตุใด
-
นักเรียนจะรู้ว่าคำเหล่านี้ สามารถแยกเป็นพยางค์ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Round Rubin
- Show and Share
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
-
บัตรภาพ/บัตรคำ
|
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน นางเก้งขาว
พร้อมๆ กัน
-
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปวรรณกรรมในรูปแบบ
Web
-
ครูนำคำในวรรณกรรมมาทำเป็นบัตรคำ ให้นักเรียนจับสลากคำนั้น
แล้วบอกความหมายตามความเข้าใจ ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าคำเหล่านี้ สามารถอ่านแยกคำได้หรือไม่”
-
ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับคำที่ได้ ครูยกตัวอย่างการอ่านคำ
และการอ่านแยกพยางค์
-
นักเรียนแบ่งกลุ่มโดยการจับสลาก ๕ กลุ่ม ครูพาเล่นเกมแยกพยางค์
แต่ละกลุ่มจะได้คำไม่เหมือนกัน เมื่อทำของกลุ่มตนเองเสร็จ
ให้เวียนดูของกลุ่มเพื่อน พร้อมกับตรวจสอบเพิ่มเติมให้กับเพื่อน
-
ครูทดสอบโดยให้เขียนตามคำบอก ๕ คำ พร้อมกับให้นักเรียนแยกพยางค์ให้ถูกกต้อง
|
ภาระงาน
:
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การอ่านนิทาน
วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
- การวิเคราะห์คำในวรรณกรรม
และช่วยกันแยกพยางค์
- การนำเสนอผลงาน
และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
-
การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน
:
- เขียนสรุปเรื่องแบบ Web
- เขียนคำแยกพยางค์
- เขียนแต่งประโยค
- เขียนคำศัพท์ ๒ พยางค์ และ ๓
พยางค์
|
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจ
และอธิบายองค์ประกอบของคำ และพยางค์ สามารถอ่าน เขียนคำ พยางค์
รู้จักแยกคำเป็นพยางค์ได้
นำคำที่ได้มาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๕
๖
– ๑๐
ก.พ.
๒๕๖๐
|
โจทย์ :
-
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ผีขาเขียว
- คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
Key Questions :
-
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรหลังจากที่อ่านวรรณกรรม
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
-
บัตรคำ/บัตรภาพ
|
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ผีขาเขียว ไปพร้อมๆ กัน
-
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปวรรณกรรมในรูปแบบ
Web
-
ครูใบ้คำให้นักเรียนทาย (เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์)
- ครูนำบัตรคำที่ใบ้
ให้นักเรียนดู และให้นักเรียนสังเกตข้อแตกต่าง
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์
และเพิ่มเติมคำศัพท์ใหม่ให้
-
นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่คำประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
-
ค้นหาคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ จากหนังสือวรรณกรรมแม่เป็นน้ำ
พ่อเป็นน้ำ
- นักเรียนทำบัตรภาพคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์คนละ
๖ ภาพ
- นักเรียนเลือกคำประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์อย่างละ ๓ คำ
มาแต่งเป็นนิทานตามจินตนาการ
-
นักเรียนเขียนตามคำบอกคำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
|
ภาระงาน :
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
-
การทำงานร่วมกันค้นหาคำศัพท์ในวรรณกรรม
- การเขียนแต่งเรื่องราวตามจินตนาการโดยเลือกคำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
-
การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน :
-
เขียนการ์ตูนช่อง
-
เขียนแต่งนิทานสร้างสรรค์
-
บัตรภาพประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
|
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจ
ความสำคัญและสามารถแยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้
และสามารถนำคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์มาแต่งเป็นประโยค
เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์
รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๖
๑๓
– ๑๗
ก.พ.
๒๕๖๐
|
โจทย์ :
-
แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน ไฟไหม้แผ่นดิน
- อักษรนำ
Key Questions :
-
ถ้าเราไม่คิดทบทวนก่อนตัดสินใจ ผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอย่างไร
-
นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับอักษรนำให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
-
บิงโกอักษรนำ
|
- ครูและนักเรียนอ่านแม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน ไฟไหม้แผ่นดิน ไปพร้อมๆ
กัน
-
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุป
โดยให้นักเรียนเลือกตัวละครที่ชื่นชอบ ๕ ตัว นำมาแต่งประโยคหรือแต่งเรื่องใหม่
- ครูพาเล่นเกมบิงโกอักษรนำ
โดยนักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม เล่นเกม ๓ รอบ
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนหลังเล่นเกม ร่วมกันวิเคราะห์และสังเกตคำที่ใช้ในการเล่นเกม
- นักเรียนทำแบบฝึกหัดอักษรนำ
- ครูพานักเรียนร้องเพลงอักษรนำ
โดยครูร้องให้ฟังก่อน ๑ รอบ แล้วนักเรียนร้องตามทีละท่อน และร้องพร้อมกันๆ ๑ รอบ
- นักเรียนจับคู่ค้นหาอักษรนำในวรรณกรรมแม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ อย่างน้อย ๑๐ คำ แล้วนำมาเขียนการ์ตูนช่อง ๑ เรื่อง
- นักเรียนนำเสนอการ์ตูนช่อง
และครูและนักเรียนร่วมกันต่อเติมเสนอแนะ
-
ครูนำประโยคสั้นๆ ที่เกี่ยวกับอักษรนำมาให้นักเรียนฝึกอ่านทีละคน
- นักเรียนเขียนตามคำบอกคำที่มีอักษรนำ
๑๐ คำ พร้อมกับนำคำไปแต่งประโยค ๓ ประโยค
|
ภาระงาน :
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
-
การอ่านประโยคที่มีอักษรนำ
-
การทำงานร่วมกันในการเล่นเกมบิงโก และค้นหาคำในวรรณกรรม
-
การเขียนตามคำบอกคำที่มีอักษรนำ
- การนำเสนอการ์ตูนช่องที่มีคำอักษรนำ
ชิ้นงาน :
- เขียนสรุปเป็นการแต่งประโยค
- บัตรคำศัพท์ - เขียนการ์ตูน ๓ ช่อง |
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน
เขียน แยกแยะอักษรนำที่มี ห นำ และ อ นำได้
สามารถนำคำที่มีอักษรนำมาเขียนแต่งประโยค
และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถอธิบาย
สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๗
๒๐
– ๑๔
ก.พ.
๒๕๖๐
|
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางบาป
- คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา
Key Questions :
-
นักเรียนคิดอย่างไรกับการลักขโมยของ ไม่ว่าจะเป็นของชิ้นน้อย
หรือของชิ้นใหญ่ก็ตาม
-
นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับการใช้คำนาม คำสรรพนาม คำกริยาให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
-
สลากคำกริยา
-
บัตรคำ
|
- ครูและนักเรียนอ่านแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางบาป พร้อมๆ กัน
-
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปเป็นเรื่องย่อ
และวาดภาพประกอบ
-
นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม เล่นเกมจัดหมวดหมู่คำ(คำนาม : คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่)
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้หลังเล่นเกม
และแชร์คำที่จัดหมวดหมู่ร่วมกันในวงใหญ่ พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง
- ครูขออาสานักเรียนจับสลาก(คำกริยา)ใบ้ท่าทางให้เพื่อนทาย
-
ครูเขียนคำเฉลยบนกระดาน และพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคำกริยานักเรียนแบ่งกลุ่ม
๕ กลุ่ม เล่นเกมจัดหมวดหมู่คำ(คำนาม : คน สัตว์ สิ่งของ
สถานที่) ที่พบเจอในชีวิตประจำวัน
- ครูนำบัตรคำ(สรรพนาม)
มาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่คำ
-
ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบหลังจากช่วยกันจัดหมวดหมู่ และเพิ่มเติมคำสรรพนาม
- นักเรียนค้นหาคำนาม คำสรรพนาม
คำกริยาในวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ชนิดละ ๓ คำ พร้อมกับแต่งประโยคประกอบ
|
ภาระงาน :
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับคำนาม คำสรรพนาม และคำกริยา
-
การแสดงบทบาทสมมติจากคำกริยา
-
การทำงานร่วมกันในการจัดหมวดหมู่ และค้นหาคำศัพท์ในวรรณกรรม
-
การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน
-
เขียนสรุปเรื่องในรูปแบบ Web
-
เขียนแต่งประโยค
-
แสดงบทบาทสมมติ
|
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจ
และอธิบายความสำคัญของคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา รวมทั้งนำคำเหล่านั้นมาแต่งประโยค
และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๘
๒๗
– ๓
มี.ค.
๒๕๖๐
|
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย
Key Questions :
-
น้องชายมีนิสัยเป็นอย่างไร หากนักเรียนเป็นน้องชาย
นักเรียนจะตัดสินใจเรื่องพี่ชายอย่างไร
-
นักเรียนมีวิธีการถ่ายทอดความเข้าใจในการใช้คำที่มีไม้ม้วน ไม้มลาย
ที่ถูกต้องได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
-
บทอาขยานไม้ม้วน
-
เพลงสระไอไม้มลาย สระไอไม้ม้วน
-
บัตรคำ
|
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ไปพร้อมๆ กัน
-
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปเป็นการ์ตูนช่องอธิบายเรื่องราว
-
ครูพานักเรียนร้องเพลง สระไอไม้ม้วน และสระไอไม้มลาย และสังเกตคำที่ใช้สระใอ
ออกเสียงไอ พร้อมกับแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
-
นักเรียนเขียนเนื้อเพลงแต่ละท่อนลงในสมุด พร้อมกับแบ่งกลุ่มกันฝึกหัดร้องเพลง
พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบ
- ครูนำบัตรคำสระใอ ไอ
ที่เขียนถูก และเขียนผิดสลับกันมาให้นักเรียนวิเคราะห์การใช้คำ
และขออาสานักเรียนมาช่วยแก้คำให้ถูกต้อง
-
ครูและนักเรียนวิเคราะห์คำร่วมกัน และนักเรียนทำแบบฝึกหัด
-
ครูพานักเรียนเขียนตามคำบอก คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย ในวรรณกรรมแม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ๑๐ คำ
- นักเรียนเลือกคำคำที่ใช้ไม้ม้วน
ไม้มลาย มา ๔ คำ ทำบัตรภาพ พร้อมกับตกแต่งให้สวยงาม
|
ภาระงาน :
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การอ่านวิเคราะห์บทอาขยานและแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
- การวิเคราะห์คำศัพท์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการใช้คำ
-
การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน :
-
เขียนสรุปเป็น Web
-
เขียนแต่งเรื่อง
-
ใบงาน
|
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน
คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อแตกต่างคำที่ใช้ไม้ม้วน
และไม้มลายได้ สามารถนำคำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียน
ของตนเอง และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๙
๖
– ๑๐
มี.ค. ๒๕๖๐ |
โจทย์ :
-
แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน ราชาหมา
-
คำคล้องจอง
Key Questions :
-
หากนักเรียนเป็นหนุ่มกำพร้า นักเรียนจะตัดสินใจอย่างไร
-
นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดคำคล้องจองง่ายๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard
Share
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
-
บัตรคำ
|
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม แม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำ ตอน ราชาหมาพร้อมๆ
กัน
-
ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปเป็นการ์ตูนช่องอธิบายเรื่องราว
๖ ฉาก
-
ครูพานั่งเรียนนั่งเป็นวงกลม แล้วครูพูดคำขึ้นมาหนึ่งคำ
แล้วให้นักเรียนพูดต่อกันในสระเดียวกันที่ครูพูด เชื่อมต่อกันไปเรื่อยๆ
จนครบทุกคน
-
ครูให้นักเรียนช่วยกันคิดคำ โดยครูจะเขียนคำไว้แค่คำเดียวบนกระดาน เช่น ดี ปู ตา
เป็นต้น
-
ให้นักเรียนช่วยเติมคำที่เป็นสระเดียวกันบนกระดาษ
-
ครูนำบทคล้องจองสองพยางค์มาให้นักเรียนดู และช่วยกันอ่าน
-
ครูนำแถบคำสองพยางค์มาให้นักเรียนสังเกต และช่วยกันเรียงใหม่
ให้คล้องจองกันตามความเข้าใจของนักเรียนก่อน
-
ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนหลังจากที่เรียงแถบคำ และช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง
-
นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่มเขียนคำคล้องจองสองพยางค์ ๑๐ คำ
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอชิ้นงาน
- ครูและนักเรียนทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่องคำคล้องจองไปพร้อมๆ กันอีกครั้ง
|
ภาระงาน
:
- การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การวิเคราะห์
สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การนำเสนอผลงาน
และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
- การเขียนย่อเรื่องสรุปวรรณกรรมที่อ่าน
ชิ้นงาน
:
- เขียนการ์ตูนช่อง
- เขียนคำคล้องจอง ๒ พยางค์
|
ความรู้
:
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์
และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ
ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
๑๐
๑๓
– ๑๖
มี.ค. ๒๕๖๐ |
โจทย์ :
ถอดบทเรียน
Key Questions :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากวรรณกรรมแม่เป็นปลา
พ่อเป็นน้ำบ้าง
-
นักเรียนจะมีวิธีการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter4 นี้อย่างไร
- นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตของเราได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Show and Share
- Brainstorm
- Blackboard Share
- Web
- Mind Mapping
- Flow Chart |
- คุณและนักเรียนสนทนาทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ทั้งวรรณกรรมและหลักภาษาทั้ง 4 Quarter
ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำบ้าง” “นักเรียนจะมีวิธีการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter4 นี้อย่างไร” “นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตของเราได้อย่างไร” “นักเรียนคิดว่าอะไรคือสิ่งที่นักเรียนทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาต่อมีอะไรบ้าง”
- นักเรียนเขียนถอดบทเรียนหลังเรียนตามความสนใจ(เขียนบรรยาย,การ์ตูนช่อง,
Web ,Mind Mapping ,Flow Chart)
พร้อมกับบอกสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และการนำไปปรับใช้ในชีวิต
- นักเรียนนำเสนอชิ้นงานเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าทั้ง
4 Quarter ในรูปแบบต่างๆ
- นักเรียนเขียนสรุปหลังจากที่ได้ประเมินตนเอง
|
ภาระงาน :
- การอ่านวิเคราะห์วรรณกรรมเชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
- การทบทวนหลักภาษาที่เรียนรู้
- การวิเคราะห์ สังเคราะห์
เนื้อหาและสิ่งที่ได้เรียนรู้ รวมทั้งวรรณกรรมที่อ่าน
- การนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้เป็นชิ้นงาน
ชิ้นงาน :
- เขียนถอดบทเรียนทั้ง 4 Quarter
|
ความรู้
:
นักเรียนเข้าใจและสามารถถอดบทเรียนตลอดการเรียนรู้ทั้ง
๑๐ สัปดาห์ ในรูปแบบต่างๆ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันของตนเองได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่
เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
|