เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)

รายวิชาภาษาไทย : เป้าหมายของการเรียนรู้จากขั้นพื้นฐานไปสู่ขั้นสูง
1. เพื่อใช้ภาษาในการรับรู้และสื่อความต้องการ
2. เพื่อใช้ภาษาเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ให้ความเข้าใจต่อโลกและปรากฏการณ์ต่างๆ

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main

Mind Mapping


ขอบข่ายเนื้อหากลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
Quarter3 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
Quarter 1
Quarter 2
Quarter 3
Quarter 4
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
๑. พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
๒. อักษรสามหมู่ ,การผันอักษร
๓. สระคงรูป สระลดรูป และสระแปลงรูป
/สระเสียงสั้น เสียงยาว
๔. คำ พยางค์
๕. ประโยค ๒ ส่วน,ประโยค ๓ ส่วน
๖. คำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
๗. คำควบกล้ำแท้,คำควบกล้ำไม่แท้
๘. มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
๙. มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา 
๑๐. อักษรนำ
. พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
. การแจกลูก สะกดคำ
. คำประสม
.
สระลดรูป สระเปลี่ยนรูป
. ประโยค
    - การแต่งประโยค
. การใช้พจนานุกรม
. คำควบกล้ำ
. มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
. มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา 

. พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
๒. การแจกลูก สะกดคำ
๓. คำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
๔. คำที่มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา
๕. การแต่งประโยค
๖. คำควบกล้ำแท้
๗. คำควบกล้ำไม่แท้
๘. คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
๙.คำคล้องจอง
. พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์
๒. การผันอักษร(สูง กลาง ต่ำ)
๓. สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
๔. คำ พยางค์
๕. คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
๖. อักษรนำ
๗. คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา
๘. คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย
๙. คำคล้องจอง
วรรณกรรม
 - นิทานสระสนุก
- นิทานกินหาง
วรรณกรรม
 - คุณกบกับคุณคางคกเพื่อนรัก
- นิทานอีสป
วรรณกรรม
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
วรรณกรรม
 - แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
เวลาเรียน ๑๑ สัปดาห์ (๕๕ ชั่วโมง)
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๔๕ ชั่วโมง)
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๕๐ ชั่วโมง)
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๕๐ ชั่วโมง)

ขอบข่ายเนื้อหาการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter4 ปีการศึกษา ๒๕๕๙

สัปดาห์

วรรณกรรม/ตอน

แก่นเรื่อง

หลักภาษา

เป้าหมายของการเรียนรู้หลักภาษา
คาดเดาวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
ความเชื่อ พิธีกรรม และต้นกำหนดของคนปกาเกอะญอ
พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์

นักเรียนเข้าใจ สามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ  สระเสียงสั้น สระเสียงยาว และวรรณยุกต์ได้ สร้างคำใหม่ และนำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน คนเลี้ยงควาย
การซื่อสัตย์ และการรักษาคำพูด
การผันอักษร(สูง กลาง ต่ำ)


นักเรียนเข้าใจเรื่องการผันอักษร สามารถผันได้ตรงรูปตรงเสียง นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถอธิบายถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน เตมิญะ

การรู้เท่าทันตนเอง และการทำความดี
สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
นักเรียนเข้าใจ และสามารถอธิบายความสำคัญของคำที่เกิดจากการใช้สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป และสามารถอ่าน และนำคำนั้นมาใช้เขียนงานในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจได้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางเก้งขาว
การรักษาคำพูด เมื่อรับปากแล้วก็ต้องทำให้ได้ อย่างที่รับปาก
คำ พยางค์
นักเรียนเข้าใจ และอธิบายองค์ประกอบของคำ และพยางค์ สามารถอ่าน เขียนคำ พยางค์ รู้จักแยกคำเป็นพยางค์ได้ นำคำที่ได้มาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ผีขาเขียว
ให้ทุกข์แก่ท่าน ทุกข์นั้นถึงตัว
คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์

นักเรียนเข้าใจ ความสำคัญและสามารถแยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้ และสามารถนำคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์มาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ไฟไหม้แผ่นดิน
ความมุมานะพยายาม เพื่อให้ได้กลับมาอยู่ด้วยกันอีกครั้ง
อักษรนำ
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน แยกแยะอักษรนำที่มี ห นำ และ อ นำได้ สามารถนำคำที่มีอักษรนำมาเขียนแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถอธิบาย สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางบาป
การยับยั้งชั่งใจ และโทษของการลักขโมย
คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา
นักเรียนเข้าใจ และอธิบายความสำคัญของคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา รวมทั้งนำคำเหล่านั้นมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
การแบ่งปัน เอื้ออาทร และการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อแตกต่างคำที่ใช้ไม้ม้วน และไม้มลายได้ สามารถนำคำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียน ของตนเอง และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ราชาหมา
เชื่อฟังคำสอน และการช่วยเหลือผู้อื่นโดยไม่หวังสิงตอบแทน
คำคล้องจอง
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์ และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
๑๐
ถอดบทเรียน
คุณค่าของวรรณกรรมและการนำไปใช้
-แก่นความเข้าใจ
-วิธีการเรียนรู้
-คุณค่าที่ได้รับ
นักเรียนเข้าใจและสามารถถอดบทเรียนตลอดการเรียนรู้ทั้ง ๑๐ สัปดาห์ ในรูปแบบต่างๆ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันของตนเองได้ 

  ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระภาษาไทย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ Quarter 4 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
หน่วยการเรียน วรรณกรรม
:
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
คาดเดาวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
สาระ/หลักภาษาไทยพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒
บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓
ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕
คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒
เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓
พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔
.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕
มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจ สามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ  สระเสียงสั้น สระเสียงยาว และวรรณยุกต์ได้ สร้างคำใหม่ และนำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน คนเลี้ยงควาย
สาระ/หลักภาษาไทย
การผันอักษร

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจเรื่องการผันอักษร สามารถผันได้ตรงรูปตรงเสียง นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถอธิบายถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน เตมิญะ
สาระ/หลักภาษาไทย
สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
อ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจ และสามารถอธิบายความสำคัญของคำที่เกิดจากการใช้สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป และสามารถอ่าน และนำคำนั้นมาใช้เขียนงานในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจได้

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางเก้งขาว
สาระ/หลักภาษาไทย
คำ พยางค์
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจ และอธิบายองค์ประกอบของคำ และพยางค์ สามารถอ่าน เขียนคำ พยางค์ รู้จักแยกคำเป็นพยางค์ได้ นำคำที่ได้มาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ผีขาเขียว
สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ


ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจ ความสำคัญและสามารถแยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้ และสามารถนำคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์มาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ไฟไหม้แผ่นดิน
สาระ/หลักภาษาไทย
อักษรนำ
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน แยกแยะอักษรนำที่มี ห นำ และ อ นำได้ สามารถนำคำที่มีอักษรนำมาเขียนแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถอธิบาย สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางบาป
สาระ/หลักภาษาไทย
- คำนาม คำสรรพนนาม คำกริยา
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจ และอธิบายความสำคัญของคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา รวมทั้งนำคำเหล่านั้นมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
สาระ/หลักภาษาไทย
คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด

ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อแตกต่างคำที่ใช้ไม้ม้วน และไม้มลายได้ สามารถนำคำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียน ของตนเอง และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ราชาหมา
สาระ/หลักภาษาไทย
คำคล้องจอง

ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน

ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู

ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
ป.๑/๔ ต่อคำคล้องจองง่ายๆ


ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก

นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์ และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์

หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
๑๐

หน่วยการเรียนรู้
แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
สาระ/หลักภาษาไทย
-แก่นความเข้าใจ
-วิธีการเรียนรู้
-คุณค่าที่ได้รับ
ป.๑/๑ อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง และข้อความสั้นๆ
ป.๑/๒ บอกความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
ป.๑/๓ ตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๔ เล่าเรื่องย่อจากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๕ คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
ป.๑/๘ มีมารยาท ในการอ่าน
ป.๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ป.๑/๒ เขียนสื่อสารด้วยคำและประโยคง่ายๆ
ป.๑/๓ มีมารยาทในการเขียน

ป.๑/๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งง่ายๆ และปฏิบัติตาม
ป.๑/๒ ตอบคำถามและเล่าเรื่องที่ฟังและดู ทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
ป.๑/๓ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
ป.๑/๔.พูดสื่อสารได้ตามวัตถุประสงค์
ป.๑/๕ มีมารยาทในการฟัง การดู

ป.๑/๑ บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ และเลขไทย
ป.๑/๒ เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ
ป.๑/๓ เรียบเรียงคำเป็นประโยคง่ายๆ
ป.๑/๔ ต่อคำคล้องจองง่ายๆ

ป.๑/๑ บอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านหรือการฟังวรรณกรรมร้อยแก้วและร้อยกรองสำหรับเด็ก
ป.๑/๒ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนด และบทร้อยกรองตามความสนใจ

นักเรียนเข้าใจและสามารถถอดบทเรียนตลอดการเรียนรู้ทั้ง ๑๐ สัปดาห์ ในรูปแบบต่างๆ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันของตนเองได้ 

ปฏิทินการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑
Quarter 4 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๙
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
Week
Input
Process
Output
Outcome
๙ – ๑๐
ม.ค.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- ทบทวนสิ่งที่รู้แล้ว ทบทวนหลักภาษา
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
Key Questions  :
นักเรียนเห็นอะไรจากปกนี้บ้าง คิดว่านิทานเล่มนี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร
- นักเรียนสามรถอธิบายเกี่ยวกับพยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์ ได้โดยวิธีไหนบ้าง
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- บัตรภาพพยัญชนะ

- ทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทยที่ได้เรียนรู้ผ่านมาใน Quarter3 และสิ่งที่อยากเรียนรู้เพิ่มเติมใน Quarter4
- ครูให้นักเรียนดูหน้าปกวรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- นักเรียนแต่ละคนเขียนคาดเดาเรื่องเกี่ยวกับวรรณกรรมพร้อมวาดภาพปกประกอบ
- แบ่งกลุ่ม ๗ กลุ่ม จับสลากพยัญชนะกลุ่มละ ๕ ตัว และช่วยกันคิดคำศัพท์จากพยัญชนะนั้นให้ได้เยอะที่สุด
- ครูพานักเรียนเล่นเกมเขียนจับคู่รูปภาพกับพยัญชนะ
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการนำไปใช้สื่อสารอย่างเหมาะสม
- ครูกำหนดคำให้นักเรียนเขียนแต่งเรื่องตามจินตนาการคนละ ๑ เรื่องสั้นๆ
- นักเรียนเขียนตามคำบอกคำพื้นฐาน ๑๐ คำ

ภาระงาน :
- การคาดเดาเรื่องราวเกี่ยวกับวรรณกรรม
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การทำงานร่วมกัน โดยทุกคนมีส่วนร่วมในการคิดคำศัพท์ใหม่
- การอ่านวรรณกรรม
- การทบทวนองค์ความรู้ก่อนเรียน
ชิ้นงาน :
- วาดภาพปกคาดเดาเรื่อง
- เขียนเรื่องราวตามจินตนาการ
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจ สามารถอ่านและเขียนพยัญชนะ  สระเสียงสั้น สระเสียงยาว และวรรณยุกต์ได้ สร้างคำใหม่ และนำมาแต่งประโยคได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
 ๑๖ – ๒๐
ม.ค.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน คนเลี้ยงควาย
- การผันอักษร
Key Questions :
- ถ้าหากนักเรียนเป็นคนเลี้ยงควาย นักเรียนจะตัดสินใจอย่างไร
- นักเรียนจะอธิบายความเข้าใจเกี่ยวกับการผันอักษรของตัวเองได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Show and Share 
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- แผงไข่ผันอักษร
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน คนเลี้ยงควาย ไปพร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปย่อความ(ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) และวาดภาพประกอบ
- ครูพานักเรียนเล่นเกมผันอักษรผ่านแผงไข่ โดยแบ่งเป็นกลุ่ม ๕ กลุ่ม มีชุดอุปกรณ์ให้คือ แผงไข่ กระดาษ ปากกาสี และไม้ไอศกรีม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มจับสลากคำ ๕ คำ(อักษรกลาง) เพื่อนำไปใช้ในการผันอักษร
- ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันหลังเล่นเกม การใช้วรรณยุกต์ตามรูป และตามการออกเสียง นักเรียนเขียนสิ่งที่ช่วยกันผันอักษรลงในสมุด
- ครูนำกลอนอักษรกลาง และตารางอักษรสามหมู่มาให้นักเรียนดู และอ่านตาม
- ครูพานักเรียนออกเสียง และเติมคำลงในตารางผันอักษร
- นักเรียนทำแบบฝึกเติมคำผันอักษร โดยครูกำหนดคำให้ ๕ คำ
- นักเรียนเขียนตามคำบอกคำพื้นฐาน ๑๐ คำ

ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การทำกิจกรรมกลุ่ม ช่วยกันคิดคำผันอักษร
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่อยากเรียนรู้
ชิ้นงาน :
- เขียนสรุปเรื่องย่อ
- เขียนตารางผันอักษร
- ถุงมือผันอักษร
- เขียนตามคำบอก และแต่งประโยค
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจเรื่องการผันอักษร สามารถผันได้ตรงรูปตรงเสียง นำคำมาแต่งประโยคและเขียนเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถอธิบายถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน




Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๓ – ๒๗
ม.ค.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน
 เตมิญะ
- สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป
Key Questions :
- ถ้าหากนักเรียนเป็นเตมิญะ นักเรียนจะทำอย่างไร
- นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเรื่องสระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูปให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- Web
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
- วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน เตมิญะ
- บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน เตมิญะ ไปพร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปวรรณกรรมในรูปแบบ Web
- ครูพานักเรียนเล่นเกมใบ้คำ(คำที่เป็นสระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป) ๑๐ คำ
- ครูและนักเรียนสนทนาหลังเล่นเกม นำคำที่เล่นเกมติดไว้บนกระดาน และพาอ่านออกเสียง สังเกตการสะกดคำศัพท์
- ครูพาทำจรวดสระลดรูป(สระโอะ)
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม ค้นหาคำที่มีสระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป ในวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ อย่างละ ๑๐ คำ และแต่ละกลุ่มนำเสนอคำของตนเอง
- นักเรียนเลือกคำที่ค้นหามา ๕ คำ เขียนแต่งนิทานสั้นๆ ๑ เรื่อง
- นักเรียนเขียนตามคำบอกคำพื้นฐาน ๑๐ คำ
ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การร่วมกลุ่มค้นหาคำที่ใช้สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูปในวรรณกรรม
ทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกันสัปดาห์นี้
- การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน :
- เขียนสรุปในรูปแบบ Web
- เขียน Web สะสมคำศัพท์
- เขียนการ์ตูน ๔ ช่อง
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจ และสามารถอธิบายความสำคัญของคำที่เกิดจากการใช้สระคงรูป สระลดรูป และสระเปลี่ยนรูป และสามารถอ่าน และนำคำนั้นมาใช้เขียนงานในรูปแบบต่างๆ ตามความสนใจได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน



Week
Input
Process
Output
Outcome
๓๐ – ๓
ก.พ.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางเก้งขาว
- คำ พยางค์
Key Questions :
- นักเรียนคิดว่าการรักษาคำพูดสำคัญหรือไม่ เพราะเหตุใด
- นักเรียนจะรู้ว่าคำเหล่านี้ สามารถแยกเป็นพยางค์ได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- Show and Share 
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- บัตรภาพ/บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางเก้งขาว พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปวรรณกรรมในรูปแบบ Web
- ครูนำคำในวรรณกรรมมาทำเป็นบัตรคำ ให้นักเรียนจับสลากคำนั้น แล้วบอกความหมายตามความเข้าใจ ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าคำเหล่านี้ สามารถอ่านแยกคำได้หรือไม่”
- ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับคำที่ได้ ครูยกตัวอย่างการอ่านคำ และการอ่านแยกพยางค์
- นักเรียนแบ่งกลุ่มโดยการจับสลาก ๕ กลุ่ม ครูพาเล่นเกมแยกพยางค์ แต่ละกลุ่มจะได้คำไม่เหมือนกัน เมื่อทำของกลุ่มตนเองเสร็จ ให้เวียนดูของกลุ่มเพื่อน พร้อมกับตรวจสอบเพิ่มเติมให้กับเพื่อน
- ครูทดสอบโดยให้เขียนตามคำบอก ๕ คำ พร้อมกับให้นักเรียนแยกพยางค์ให้ถูกกต้อง

ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การอ่านนิทาน วิเคราะห์แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
- การวิเคราะห์คำในวรรณกรรม และช่วยกันแยกพยางค์
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำ และสิ่งที่ได้เรียนรู้
- การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน :
- เขียนสรุปเรื่องแบบ Web
- เขียนคำแยกพยางค์
- เขียนแต่งประโยค
- เขียนคำศัพท์ ๒ พยางค์ และ ๓ พยางค์
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจ และอธิบายองค์ประกอบของคำ และพยางค์ สามารถอ่าน เขียนคำ พยางค์ รู้จักแยกคำเป็นพยางค์ได้ นำคำที่ได้มาเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ
:
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน


Week
Input
Process
Output
Outcome
๖ – ๑๐
ก.พ.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ผีขาเขียว
- คำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
 Key Questions :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรหลังจากที่อ่านวรรณกรรม
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- บัตรคำ/บัตรภาพ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ผีขาเขียว ไปพร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปวรรณกรรมในรูปแบบ Web
- ครูใบ้คำให้นักเรียนทาย (เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์)
- ครูนำบัตรคำที่ใบ้ ให้นักเรียนดู และให้นักเรียนสังเกตข้อแตกต่าง
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้เกี่ยวกับคำประวิสรรชนีย์ และเพิ่มเติมคำศัพท์ใหม่ให้
- นักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่คำประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
- ค้นหาคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ จากหนังสือวรรณกรรมแม่เป็นน้ำ พ่อเป็นน้ำ
- นักเรียนทำบัตรภาพคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์คนละ ๖ ภาพ
- นักเรียนเลือกคำประวิสรรชนีย์ และคำที่ไม่ประวิสรรชนีย์อย่างละ ๓ คำ มาแต่งเป็นนิทานตามจินตนาการ
- นักเรียนเขียนตามคำบอกคำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การทำงานร่วมกันค้นหาคำศัพท์ในวรรณกรรม
การเขียนแต่งเรื่องราวตามจินตนาการโดยเลือกคำที่ประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
- การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน :
- เขียนการ์ตูนช่อง
- เขียนแต่งนิทานสร้างสรรค์
- บัตรภาพประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจ ความสำคัญและสามารถแยกแยะคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์ได้ และสามารถนำคำประวิสรรชนีย์,คำที่ไม่ประวิสรรชนีย์มาแต่งเป็นประโยค เขียนเรื่องตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ
:
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน




















Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๓ – ๑๗
ก.พ.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ไฟไหม้แผ่นดิน
- อักษรนำ
Key Questions :
- ถ้าเราไม่คิดทบทวนก่อนตัดสินใจ ผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอย่างไร
- นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับอักษรนำให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- บิงโกอักษรนำ
- ครูและนักเรียนอ่านแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ไฟไหม้แผ่นดิน ไปพร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุป โดยให้นักเรียนเลือกตัวละครที่ชื่นชอบ ๕ ตัว นำมาแต่งประโยคหรือแต่งเรื่องใหม่
- ครูพาเล่นเกมบิงโกอักษรนำ โดยนักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม เล่นเกม ๓ รอบ
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนหลังเล่นเกม ร่วมกันวิเคราะห์และสังเกตคำที่ใช้ในการเล่นเกม
- นักเรียนทำแบบฝึกหัดอักษรนำ
- ครูพานักเรียนร้องเพลงอักษรนำ โดยครูร้องให้ฟังก่อน ๑ รอบ แล้วนักเรียนร้องตามทีละท่อน และร้องพร้อมกันๆ ๑ รอบ
- นักเรียนจับคู่ค้นหาอักษรนำในวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ อย่างน้อย ๑๐ คำ แล้วนำมาเขียนการ์ตูนช่อง ๑ เรื่อง
- นักเรียนนำเสนอการ์ตูนช่อง และครูและนักเรียนร่วมกันต่อเติมเสนอแนะ
- ครูนำประโยคสั้นๆ ที่เกี่ยวกับอักษรนำมาให้นักเรียนฝึกอ่านทีละคน
- นักเรียนเขียนตามคำบอกคำที่มีอักษรนำ ๑๐ คำ พร้อมกับนำคำไปแต่งประโยค ๓ ประโยค
ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
- การอ่านประโยคที่มีอักษรนำ
- การทำงานร่วมกันในการเล่นเกมบิงโก และค้นหาคำในวรรณกรรม
- การเขียนตามคำบอกคำที่มีอักษรนำ
การนำเสนอการ์ตูนช่องที่มีคำอักษรนำ
ชิ้นงาน :
- เขียนสรุปเป็นการแต่งประโยค
- บัตรคำศัพท์
- เขียนการ์ตูน ๓ ช่อง
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน แยกแยะอักษรนำที่มี ห นำ และ อ นำได้ สามารถนำคำที่มีอักษรนำมาเขียนแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถอธิบาย สื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน


Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๐ – ๑๔
ก.พ.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางบาป
- คำนาม คำสรรพนาม คำกริยา
Key Questions :
- นักเรียนคิดอย่างไรกับการลักขโมยของ ไม่ว่าจะเป็นของชิ้นน้อย หรือของชิ้นใหญ่ก็ตาม
- นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับการใช้คำนาม คำสรรพนาม คำกริยาให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- สลากคำกริยา
- บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน นางบาป พร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปเป็นเรื่องย่อ และวาดภาพประกอบ
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม เล่นเกมจัดหมวดหมู่คำ(คำนาม : คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่)
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนการเรียนรู้หลังเล่นเกม และแชร์คำที่จัดหมวดหมู่ร่วมกันในวงใหญ่ พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง
- ครูขออาสานักเรียนจับสลาก(คำกริยา)ใบ้ท่าทางให้เพื่อนทาย
- ครูเขียนคำเฉลยบนกระดาน และพูดคุยแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคำกริยานักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม เล่นเกมจัดหมวดหมู่คำ(คำนาม : คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่) ที่พบเจอในชีวิตประจำวัน
- ครูนำบัตรคำ(สรรพนาม) มาให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ และจัดหมวดหมู่คำ
- ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบหลังจากช่วยกันจัดหมวดหมู่ และเพิ่มเติมคำสรรพนาม
- นักเรียนค้นหาคำนาม คำสรรพนาม คำกริยาในวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ชนิดละ ๓ คำ พร้อมกับแต่งประโยคประกอบ
ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
การทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้เกี่ยวกับคำนาม คำสรรพนาม และคำกริยา
- การแสดงบทบาทสมมติจากคำกริยา
- การทำงานร่วมกันในการจัดหมวดหมู่ และค้นหาคำศัพท์ในวรรณกรรม
- การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน
- เขียนสรุปเรื่องในรูปแบบ Web
- เขียนแต่งประโยค
- แสดงบทบาทสมมติ

ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจ และอธิบายความสำคัญของคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา รวมทั้งนำคำเหล่านั้นมาแต่งประโยค และเขียนเรื่องตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ได้
ทักษะ
:
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน


Week
Input
Process
Output
Outcome
๒๗ – ๓
มี.ค.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย
Key Questions :
- น้องชายมีนิสัยเป็นอย่างไร หากนักเรียนเป็นน้องชาย นักเรียนจะตัดสินใจเรื่องพี่ชายอย่างไร
- นักเรียนมีวิธีการถ่ายทอดความเข้าใจในการใช้คำที่มีไม้ม้วน ไม้มลาย ที่ถูกต้องได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- บทอาขยานไม้ม้วน
- เพลงสระไอไม้มลาย สระไอไม้ม้วน
- บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ไปพร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปเป็นการ์ตูนช่องอธิบายเรื่องราว
- ครูพานักเรียนร้องเพลง สระไอไม้ม้วน และสระไอไม้มลาย และสังเกตคำที่ใช้สระใอ ออกเสียงไอ พร้อมกับแลกเปลี่ยนการเรียนรู้
- นักเรียนเขียนเนื้อเพลงแต่ละท่อนลงในสมุด พร้อมกับแบ่งกลุ่มกันฝึกหัดร้องเพลง พร้อมทั้งทำท่าทางประกอบ
- ครูนำบัตรคำสระใอ ไอ ที่เขียนถูก และเขียนผิดสลับกันมาให้นักเรียนวิเคราะห์การใช้คำ และขออาสานักเรียนมาช่วยแก้คำให้ถูกต้อง
- ครูและนักเรียนวิเคราะห์คำร่วมกัน และนักเรียนทำแบบฝึกหัด
- ครูพานักเรียนเขียนตามคำบอก คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย ในวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ๑๐ คำ
- นักเรียนเลือกคำคำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย มา ๔ คำ ทำบัตรภาพ พร้อมกับตกแต่งให้สวยงาม
ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
- การอ่านวิเคราะห์บทอาขยานและแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่าน
- การวิเคราะห์คำศัพท์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการใช้คำ
- การเขียนสรุปวรรณกรรมที่อ่านในรูปแบบ Web
ชิ้นงาน :
- เขียนสรุปเป็น Web
- เขียนแต่งเรื่อง
- ใบงาน

ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถอ่าน เขียน คำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลายได้อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อแตกต่างคำที่ใช้ไม้ม้วน และไม้มลายได้ สามารถนำคำที่ใช้ไม้ม้วน ไม้มลาย มาใช้ในการสร้างสรรค์งานเขียน ของตนเอง และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ทักษะ :
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๖ – ๑๐
มี.ค.
๒๕๖๐
โจทย์ :
- แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ราชาหมา
- คำคล้องจอง
Key Questions :
- หากนักเรียนเป็นหนุ่มกำพร้า นักเรียนจะตัดสินใจอย่างไร
- นักเรียนจะสามารถถ่ายทอดคำคล้องจองง่ายๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Blackboard Share 
- Round Rubin
- พฤติกรรมสมอง
- Show and Share 
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ห้องเรียน
วรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ
- บัตรคำ
- ครูและนักเรียนอ่านวรรณกรรม แม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำ ตอน ราชาหมาพร้อมๆ กัน
- ครูตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านให้สอดรับกับพฤติกรรมสมอง
- นักเรียนเขียนสรุปเป็นการ์ตูนช่องอธิบายเรื่องราว ๖ ฉาก
- ครูพานั่งเรียนนั่งเป็นวงกลม แล้วครูพูดคำขึ้นมาหนึ่งคำ แล้วให้นักเรียนพูดต่อกันในสระเดียวกันที่ครูพูด เชื่อมต่อกันไปเรื่อยๆ จนครบทุกคน
- ครูให้นักเรียนช่วยกันคิดคำ โดยครูจะเขียนคำไว้แค่คำเดียวบนกระดาน เช่น ดี ปู ตา เป็นต้น
- ให้นักเรียนช่วยเติมคำที่เป็นสระเดียวกันบนกระดาษ
- ครูนำบทคล้องจองสองพยางค์มาให้นักเรียนดู และช่วยกันอ่าน
- ครูนำแถบคำสองพยางค์มาให้นักเรียนสังเกต และช่วยกันเรียงใหม่ ให้คล้องจองกันตามความเข้าใจของนักเรียนก่อน
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนหลังจากที่เรียงแถบคำ และช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่มเขียนคำคล้องจองสองพยางค์ ๑๐ คำ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอชิ้นงาน
- ครูและนักเรียนทบทวนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เรื่องคำคล้องจองไปพร้อมๆ กันอีกครั้ง
ภาระงาน :
การพูดคุยแสดงความคิดเห็นเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดคุณค่าต่อตนเองและผู้อื่น
การวิเคราะห์ สนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการอ่านวรรณกรรม
การนำเสนอผลงาน และทบทวนกิจกรรมที่ทำร่วมกัน
- การเขียนย่อเรื่องสรุปวรรณกรรมที่อ่าน
ชิ้นงาน :
- เขียนการ์ตูนช่อง
- เขียนคำคล้องจอง ๒ พยางค์
ความรู้ :
นักเรียนสามารถอ่านและเขียนคำคล้องจองได้อย่างถูกต้องสร้างสรรค์ และสามารถแต่งคำคล้องจองเองได้อย่างง่ายๆ ใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากนิทานอ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ทักษะ
:
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน

Week
Input
Process
Output
Outcome
๑๐
๑๓ – ๑๖
มี.ค.
๒๕๖๐
โจทย์ :
ถอดบทเรียน
Key Questions :
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำบ้าง
- นักเรียนจะมีวิธีการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter4 นี้อย่างไร
- นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตของเราได้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Show and Share
- Brainstorm
- Blackboard Share 
- Web
- Mind Mapping
- Flow Chart

- คุณและนักเรียนสนทนาทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ ทั้งวรรณกรรมและหลักภาษาทั้ง 4 Quarter ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด 
     “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากวรรณกรรมแม่เป็นปลา พ่อเป็นน้ำบ้าง”
      “นักเรียนจะมีวิธีการสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน
Quarter4 นี้อย่างไร”
     “นักเรียนจะนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตของเราได้อย่างไร”
     “นักเรียนคิดว่าอะไรคือสิ่งที่นักเรียนทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาต่อมีอะไรบ้าง” 
- นักเรียนเขียนถอดบทเรียนหลังเรียนตามความสนใจ(เขียนบรรยาย,การ์ตูนช่อง, Web ,Mind Mapping ,Flow Chart) พร้อมกับบอกสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว และการนำไปปรับใช้ในชีวิต
- นักเรียนนำเสนอชิ้นงานเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าทั้ง 4 Quarter ในรูปแบบต่างๆ
- นักเรียนเขียนสรุปหลังจากที่ได้ประเมินตนเอง

ภาระงาน :
- การอ่านวิเคราะห์วรรณกรรมเชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
- การทบทวนหลักภาษาที่เรียนรู้
- การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เนื้อหาและสิ่งที่ได้เรียนรู้ รวมทั้งวรรณกรรมที่อ่าน
- การนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้เป็นชิ้นงาน
ชิ้นงาน :
- เขียนถอดบทเรียนทั้ง 4 Quarter
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถถอดบทเรียนตลอดการเรียนรู้ทั้ง ๑๐ สัปดาห์ ในรูปแบบต่างๆ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ และนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันของตนเองได้ 
ทักษะ
:
-ทักษะการเรียนรู้
-ทักษะการสื่อสาร
-ทักษะการคิด
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบ กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน